|
|
|
ประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลสองคอนประกอบอาชีพเกษตรกร ประมาณ 80% ของจำนวนครัวเรือนในพื้นที่
ส่วนใหญ่จะทำนาปลูกข้าว หลังจากเก็บเกี่ยวเสร็จก็จะปลูกข้าวโพด และมีบางส่วนที่ปลูกแตงกวา มะระ ฟักทอง |
|
|
|
|
|
ตำบลสองคอนสภาพพื้นที่ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นภูเขา
และพื้นที่ลาดชัน ส่วนสภาพพื้นที่ที่มีลักษณะเป็นพื้นที่ราบเรียบใช้ทำนา และพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย
ถึงลอนชันใช้ปลูกพืชไร่และไม้ผล |
|
|
|
|
|
|
|
ตำบลสองคอนมีภูมิอากาศแบบร้อนชื้น 3 ฤดู |
|
ฤดูร้อน |
เริ่ม ต้นเดือนมีนาคม - เดือนพฤษภาคม |
|
ฤดูฝน |
เริ่ม เดือนมิถุนายน - เดือนกันยายน |
|
ฤดูหนาว |
เริ่ม ต้นเดือนพฤศจิกายน - เดือนมีนาคม
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
ประชาชนส่วนใหญ่ประมาณ 95 % นับถือศาสนาพุทธ และประมาณ 5% นับถือศาสนาคริสต์และอิสลาม |
|
มีวัด |
จำนวน |
8 |
แห่ง |
|
มีสำนักสงฆ์ |
จำนวน |
1 |
แห่ง |
|
|
|
ขนบธรรมเนียม ประเพณี
และวัฒนธรรม |
|
|
 |
 |
|
|
|
ประเพณี |
|
ประเพณีบวงสรวงปู่ตา พญาปาด ซึ่ง ปู่ตา หมายถึง
ผู้เป็นเจ้าที่ เจ้าทาง ซึ่งจะมีพิธีกรรมการบวงสรวงปู่ตา แข่งขันสะบ้า การแข่งขันเส็งกลอง การแสดงพื้นบ้าน "ตับเต่า" และการแสดงศิลปะการต่อสู้ "ตีลาย" |
|
ประเพณีแห่ต้นดอกไม้ จะมีการแห่งทุกปี เริ่มจากวัน
สรงน้ำพระพุทธรูป(ช่วงวันสงกรานต์) เริ่มจากวันที่ 13 เมษายน |
|
|
|
|
ประเพณีบุญแห่ข้าวพันก้อน คือการนำเอาข้าวเหนียวนึ่งมาทำเป็นก้อน ๆ จำนวน 1,000 ก้อน ไปบูชาพระรัตนตรัยที่วัด จะทำกันในประเพณีไทย วันตรุษสงกรานต์วันสุดท้ายคือวันที่ 15 เมษายน ของทุกปี |
|
|
ตีลาย คือศิลปะการต่อสู้ที่อยู่คู่กับชาวฟากท่ามาช้านาน เป็นศิลปะการต่อสู้ด้วยมือเปล่า ที่มีลีลา ลวดลาย
รวดเร็ว คล่องแคล่ว ว่องไวหนักหน่วง และแน่นอน แต่ก็แฝงไปด้วยความอ่อนช้อยและสวยงาม ตีลายเป็นศิลปะการต่อสู้ของชาวที่บรรพบุรุษได้นำศิลปะแขนงนี้ติดตัวมา โอกาสที่จะได้แสดงคือ ในวันสงกรานต์เท่านั้น |
|
ภูมิปัญญาท้องถิ่น |
|
|
ผ้าทอมือ เช่น ผ้ามัดหมี่ ผ้าขาวม้า และผ้าซิ่น ลายดอกแก้ว ลายน้ำไหล ผลิตออกขายเป็นการสร้างรายได้เสริม |
|
ภาษาถิ่น |
|
|
ภาษาท้องถิ่นของชาวฟากท่าเป็นภาษาเดียวกันกับภาษาลาว ทั้งสำเนียงและคำศัพท์ต่าง ๆ |
|
|
|
|
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก จำนวน 3 แห่ง |
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านสองคอน |
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กบ้านหนองหัวนา |
|
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก อบต.สองคอน |
โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา(ขยายโอกาศ) จำนวน 1 แห่ง |
ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน จำนวน 1 แห่ง |
|
|
|
ระดับประถมศึกษา จำนวน 3 แห่ง |
|
โรงเรียนห้วยสูน |
|
โรงเรียนวัดวังกอง |
|
โรงเรียนบ้านไร่ตีนตก |
|
|
ระดับประกาศนียบัตร จำนวน 1 แห่ง |
|
วิทยาลัยการอาชีพรัตนประสิทธิ์วิทย์ |
|
|
|
|
|
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล จำนวน 2 แห่ง |
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสองคอน |
|
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลห้วยใส |
อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) จำนวน 79 คน |
อัตราการมีและใช้ส้วมราดน้ำ ร้อยละ 100
|
|
|
|
|
|
|
|
สถานีตำรวจภูธรฟากท่า |
|
หน่วยบริหารประชาชนตำบลสองคอน |
|
|
|
|
|
พื้นที่ตำบลสองคอน มีเส้นทางการคมนาคมหลัก คือทางหลวงหมายเลข 117 ซึ่งมีรถประจำทางสายฟากท่า - อุตรดิตถ์ จำนวน 8 เที่ยว และมีรถสองแถว จำนวน 2 คัน
วิ่ง ไป - กลับ วันละ 1 เที่ยว |
|
|
|
|
|
|
|
|
|
แหล่งน้ำธรรมชาติ |
|
แม่น้ำ |
|
|
|
|
ลำน้ำ |
จำนวน |
2 |
แห่ง |
|
(ลำน้ำปาด,ลำน้ำขอนแก่น) |
|
|
|
|
ลำห้วย |
จำนวน |
2 |
แห่ง |
|
(ลำห้วยสูน, ลำห้วยใส) |
|
|
|
|
|
|
แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น |
|
อ่างเก็บน้ำห้วยมอง |
|
ฝาย จำนวน 2 แห่ง |
|
|
|
(ฝายนาอ่าง , ฝายสมพงษ์) |
|
บ่อบาดาลสาธารณะ |
|
บ่อน้ำตื้นสาธารณะ |
|
ระบบประปาหมู่บ้าน |
|
|
|
|
|
|
|
ประชาชนในพื้นที่ในตำบลสองคอนมีไฟฟ้าใช้ครบ
ทุกครัวเรือน ส่วนใหญ่ต้องการไฟฟ้าสำหรับพื้นที่ทำการเกษตร |
|
|
|
|
|